หน้าแรก หน้ารวมบทความ หลักสูตรอบรมทีมงาน (Team Training Skills)

หลักสูตรอบรมทีมงาน (Team Training Skills)


ผู้เขียน : อาจารย์ วีย์รฎา กวิณรวีบริรักษ์   วันที่ :   จำนวนผู้เข้าชม 510 คน

กด Like กด Share บทความให้เพื่อน

Facebook Twitter Line

          ในการฝึกอบรม (In - house Training) นอกจากหลักสูตรพัฒนาบริการ พัฒนาหัวหน้างานและอื่นๆอีกมากมายที่จัดอบรมขึ้น ผู้จัดอบรม ควรให้ความสำคัญกับ หลักสูตรด้านพัฒนาทีมงาน (Team Training Skills) 


          ผู้จัดหลักสูตรอบรม ควรพิจารณาหลักสูตรตามความเหมาะสมตรงตามนโยบายงาน ความเร่งด่วนงาน ความจำเป็นในการเพิ่มทักษะ โดยสามารถประเมินผลสัมฤทธิ์หลังเข้าอบรม (Training evaluate) ได้อย่างเป็นรูปธรรม ผู้จัดควรเลือกขนาดกลุ่มผู้เข้าอบรม ให้เหมาะสมกับการทำกลุ่มกิจกรรมอบรม 
          บางครั้งจำเป็นต้องจำกัดงบประมาณต้องพิจารณาหลายๆด้าน อาทิเช่น จัดไปแล้วผลลัพธ์ตอบกลับคุ้มค่าหรือไม่ ? เพิ่มความสามัคคี ? นำมาประเมินตาม ROI ยิ่งได้ผลดี 
การจัดอบรมแบบทีมนั้น ควรเน้น เรื่องการทำกลุ่มมากกว่าบรรยายอย่างเดียว การเข้ากิจกรรมกลุ่มในสัดส่วนการอบรม ทฤษฎี < ปฏิบัติ
          จัดกลุ่มอบรมแบบกลุ่มใหญ่ ครั้งละหลายๆร้อยคน มักได้ความสนุกสนาน ประเมินผลค่อนข้างยาก การอบรมควรอยู่ในรูปแบบบรรยาย หรือกิจกรรมสร้างสรรค์ 
          หากเน้น Workshop ควรทำในแบบกลุ่มย่อยมากกว่า จะทำให้ผู้เข้าอบรมได้รับทักษะตรง มีคุณค่า แต่ข้อเสียก็คือสิ้นเปลืองงบประมาณ เพราะต้องจัดอบรมหลายรุ่น หากเทียบผลตอบแทนหลังอบรมกับประโยชน์แบบยั่งยืน หากการจัดไปแล้วเกิดประสิทธิภาพก่อประสิทธิผล เห็นควรลงทุนงบประมาณส่วนนี้ 
          ผู้เขียนขอตัวอย่าง หลักสูตรการอบรมทีม ดังภาพ 

ตัวอย่าง หลักสูตรการอบรมทีม

คำถามชวนคิด 

การอบรมหลักสูตรทักษะการทำงานและหลักสูตรด้านปรับพฤติกรรมมาทำการอบรมนั้น 
ควรใช้สัดส่วนอบรมทฤษฎี : ปฏิบัติ เท่าใดเหมาะสม ? 

...............................................................

วีย์รฎา กวิณรวีบริรักษ์


E-Mail : [email protected]

วันที่ : 07 มีนาคม 2566

จำนวนผู้เข้าชม 510 คน

กรุณากดถูกใจ และ เพิ่มเพื่อน Line

บทความที่เกี่ยวข้อง


กำหนดตัวชี้วัด KPI แบบไม่มี JD

ธุรกิจหรือกิจการ SME ขนาดเล็กไม่มีการจัดทำใบกำหนดหน้าที่งาน อาจไม่สะดวกใช้การ ประเมินผลแบบ BSC เทคนิคง่ายๆ ในการกำหนดตัวชี้วัดผล สำหรับผู้จัดทำ KPI มือใหม่ กำหนด ตัวชี้วัด KPI แบบไม่มี JD ทำอย่างไร ?

Feedback 5 ขั้นตอนเพื่อพัฒนาตัวชี้วัด KPI

คุณสมบัติหัวหน้างานที่ดีไม่เพียงแต่จะบริหารทีมงานได้เท่านั้น การให้ฟีดแบ็ก (Feedback) ถือเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาทีมงาน สร้างคนเก่งในองค์กร (Talent people) ลดอัตราการลาออก (Turnover rate)

อบรม ESB & AIDET Plus แก้ปัญหาการบริการและการสื่อสาร ?

อบรมพฤติกรรมบริการ (ESB) ไปแล้ว การเรียนรู้หลักสูตรเรื่อง AIDET Communications จำเป็นหรือไม่ ? AIDET เนื้อหาการเรียนรู้เรื่องอะไร ? นี่คือคำถามที่ผู้จัดอบรมในคลินิก และโรงพยาบาลหลายแห่ง

ทฤษฎีตัดสินใจใช้ผลิตภัณฑ์และการบริการ

การเลือกใช้สินค้า และบริการนั้นเกิดจากการเรียนรู้ของผู้เลือกใช้ อาจมาจากข้อมูลสื่อโฆษณาในช่องทางต่างๆ ประสบการณ์คำบอกเล่า ประสบการณ์ตรงที่ได้รับมาจากผู้ใช้บริการ

พฤติกรรมบริการต่อลูกค้าทั่วไป คลินิก โรงพยาบาล

การบริการไม่ใช่สินค้าที่สามารถคงรูปรส กลิ่น เสียงได้เมื่อเปลี่ยนผู้ให้บริการพฤติกรรมการส่งมอบบริการอาจเปลี่ยนไปตามลักษณะของบุคคลนั้น สิ่งที่ทำให้พฤติกรรมการบริการคงที่คงอยู่นั้นคือ การสร้าง Empathy

การสื่อสารแบบ AIDET Plus ทุกแผนกในโรงพยาบาลทำอย่างไร ?

ในอดีตผู้ปฏิบัติงานมีหน้าที่ปฏิบัติงานตามหลักใบกำหนดหน้าที่งาน (Job Descriptions) โดยปฏิบัติงานแต่ละหน้าที่ตามขั้นตอนงาน (Work Instruction) ที่จัดทำขึ้นมาจากมาตรฐานของแต่ละวิชาชีพตามหลักการความปลอดภัย