หน้าแรก หน้ารวมบทความ แนวทางลดปัญหา Turnover

แนวทางลดปัญหา Turnover


ผู้เขียน : อาจารย์ วีย์รฎา กวิณรวีบริรักษ์   วันที่ :   จำนวนผู้เข้าชม 843 คน

กด Like กด Share บทความให้เพื่อน

Facebook Twitter Line

     นี่คือแบบอย่าง การทำงานที่มีประสิทธิภาพสำหรับนักสรรหา (Recruiter) นั่นคือ ในการลาออกแต่ละเดือนนั้น นักสรรหาบุคลากร ควรนำจำนวนผู้ลาออกหารจำนวนพนักงานที่มีอยู่ทั้งหมด และพิจารณาหาสาเหตุทุกเดือน ไม่ปล่อยละเลยเป็นเรื่องปรกติ 


      นอกจากนั้น ควรพิจารณาหาเหตุผลเพิ่มเติม เช่น ตำแหน่งที่ลาออก ผู้ทำงานอยู่ในกลุ่มดาวเด่น ผลงานดี ตำแหน่งงานเฉพาะทาง กลุ่มนี้ถือเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญขององค์กร ควรมีการกำหนดเกณฑ์เป้าหมาย ที่เกินจำนวนรับได้ ของจำนวนผู้ลาออกในกลุ่มนี้ หากเกินจำนวนนักสรรหาควรวางแผนพิจารณาร่วมกับผู้บังคับบัญชาหรือฝ่ายบริหาร ในการหาทิศทางรองรับ แก้ปัญหาที่เหมาะสม 
       การลาออก ถือเป็นสิทธิ์ของผู้ทำงานในการตัดสินใจส่วนหนึ่ง แต่เมื่อคัดเลือกสรรหาบุคลากรเข้ามาในหน่วยงาน หัวหน้างานในหน่วยงาน ต้องมีกระบวนการส่งเสริม ดูแล ควบคุม ติดตาม อย่างมีระบบ ทำอย่างไร ให้พนักงานสามารถทำงานได้ตามเป้าหมายและใช้ชีวิตในที่ทำงานอย่างสะดวกใจ 

ตัวอย่าง แนวทางการลด Turnover พนักงาน 

ตัวอย่าง แนวทางการลด Turnover พนักงาน

         แนวทางลดการลาออก แต่ละองค์กรต้องมีแผนป้องกัน แก้ไข ส่งเสริมที่อย่างจริงจัง ไม่มองการแก้ปัญหาเป็นเรื่องของนักสรรหาบุคลากร เพราะความรับผิดชอบหลักในการดูแลบุคลากรเมื่อเข้าสู่สายงาน เป็นหน้าที่สำคัญของ Line Manager ในการจูงใจ รักษาพนักงานที่มีความสามารถ(Retain Talent) ให้ทำงานอยู่คู่องค์กร มีความรักศรัทธาในเพื่อนร่วมงานและฝ่ายบริหาร 

Cr.Picture 

http://www.governing.com/columns/smart-mgmt
วีย์รฎา กวิณรวีบริรักษ์


E-Mail : [email protected]

วันที่ : 07 มีนาคม 2566

จำนวนผู้เข้าชม 843 คน

กรุณากดถูกใจ และ เพิ่มเพื่อน Line

บทความที่เกี่ยวข้อง


แนวคิดและประโยชน์ Competency based Performance

การมุ่งเน้นประเมินผลตัวชี้วัดหลัก KPI ตามหน้าที่ปฏิบัติงานอาจได้คนเก่ง แต่ไร้ประสิทธิภาพความสามารถในการทำงานร่วมกันเป็นทีม การประเมินด้านขีดความสามารถมีส่วนในการช่วยพัฒนาบุคลากรให้เป็นไปตามทิศ

ฝึกพูดระดับเสียงหนึ่งในงานบริการ

เสียงหนึ่ง เสียงสองคืออะไร ? หากได้ยินคนเอ่ยถึงคุณทราบหรือไม่?? น้ำเสียงที่สนทนาพูดคุยอยู่นั้นคือน้ำเสียงระดับใด ซึ่งการใช้น้ำเสียงเพื่อการสนทนากับผู้รับบริการต่างจากการพูดคุยทั่วไป

เปรียบเทียบการสื่อสารแบบทั่วไป และ AIDET Plus

เอเด็ต (AIDET) เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือในการวางกรอบการสื่อสารสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ กลุ่มHealthcare เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรับรู้แบบสองทาง (Two way communications)

การถ่ายทอดลำดับการสื่อสารเชิงลึกงาน Healthcare

การถ่ายทอดลำดับการสื่อสารเชิงลึกงาน Healthcare (In-Depth communications in Healthcare) เมื่อไรก็ตามที่คุณใช้รูปแบบการสื่อสารแบบ AIDET Plus+ ในการสื่อสารกับเพื่อนร่วมงาน ผู้ป่วยและครอบครัว

ความแตกต่าง AIDET & AIDET Plus

ความแตกต่างระหว่างรูปแบบการสื่อสารของบุคลากรทางการแพทย์แบบเดิม AIDET และแบบใหม่ AIDET Plus เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร สามารถขับเคลื่อนแผนการปฏิบัติไปให้ถึงเป้าหมายการพัฒนาบุคลากร

Feedback 5 ขั้นตอนเพื่อพัฒนาตัวชี้วัด KPI

คุณสมบัติหัวหน้างานที่ดีไม่เพียงแต่จะบริหารทีมงานได้เท่านั้น การให้ฟีดแบ็ก (Feedback) ถือเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาทีมงาน สร้างคนเก่งในองค์กร (Talent people) ลดอัตราการลาออก (Turnover rate)