ผู้เขียน : อาจารย์ วีย์รฎา กวิณรวีบริรักษ์ วันที่ : 12 กรกฎาคม 2566 จำนวนผู้เข้าชม 904 คน
12 กรกฎาคม 2566“วิธีการประเมินผลเป็นขั้นตอนสำคัญมาก อยู่ในช่วงท้ายสุดก่อนการรับทราบข้อมูล ตัวเลขความสำเร็จในการจัดทำการประเมินผล สามารถทำได้หลายวิธีและมีรูปแบบการประเมินที่ออกแบบแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับองค์กรที่จัดทำให้เหมาะสมกับการใช้งาน ไม่ควรซับซ้อนหรือเข้าใจยากเกินไป สำคัญที่สุดคือผู้ใช้มีความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกัน ข้อมูลที่สรุปออกมาเกิดการนำไปใช้ขับเคลื่อนทรัพยากรบุคคลและองค์กร” …
Decenzo and Robbins (2010) ได้จำแนก วิธีประเมินผลเป็น 3 แบบ ดังนี้
1. วิธีมาตรฐานสมบูรณ์
: ใช้ประเมินผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับหลักเกณฑ์ที่กำหนดขึ้น เหมาะสำหรับกลุ่มข้อมูลจำนวนมากหรือผลลัพธ์ที่ได้บางส่วนเชิงพฤติกรรม นิยมใช้กันในปัจจุบันหลายรูปแบบ แบ่งเป็น 6 วิธีคือ
2. วิธีมาตรฐานสัมพันธ์
: ใช้การประเมินผลแบบเปรียบเทียบกับบุคคลอื่น วิธีการนี้เหมาะสำหรับกลุ่มที่มีความคล้ายคลึงกันหรือต้องการผลลัพธ์เฉพาะเจาะจงจำนวนจำกัด แบ่งเป็น 4 วิธีคือ
3. วิธีประเมินผลตามวัตถุประสงค์
: เป็นการประเมินผลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เรียกว่า MBO (Management By Objective Methods) ได้รับความนิยมครั้งแรกในปี 1954 จากหนังสือเรื่อง The Practice of Management ของ Peter Drucker
วิธีการประเมินแบบนี้เน้นการเชื่อมโยงนโยบาย ภารกิจและเป้าหมายองค์กร ให้ทุกคนในองค์กรมองเห็นวัตถุประสงค์ภาพรวมร่วมกันเป็นหนึ่งเดียว องค์กรที่มีสำนักงานใหญ่ มีสาขาย่อยจำนวนมากหรือสาขากระจายตัวอยู่หลายประเทศมีสินค้าบริการแบบเดียวกัน นิยมการประเมินแบบนี้ซึ่งง่ายต่อการสรุปรวมนำเสนอข้อมูล เห็นภาพรวมชัดเจน เรียก “ประเมินผลตามวัตถุประสงค์ของ Headquarters”
การลงความเห็นในการเลือกใช้วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานแบบใดนั้น ไม่ควรขึ้นอยู่กับการตัดสินใจเฉพาะบุคคล มีการปรับเปลี่ยนวิธีการได้เมื่อผ่านพ้นการประเมินในรอบปีนั้นไปแล้ว
ควรคำนึงถึง ปัจจัยในการเลือกวิธีการประเมิน 5 ข้อ คือ
E-Mail : [email protected]
วันที่ : 12 กรกฎาคม 2566
จำนวนผู้เข้าชม 904 คน
กรุณากดถูกใจ และ เพิ่มเพื่อน Line
ใช้ทฤษฎีมาสโลว์สร้างแรงจูงใจ
เพิ่มแรงจูงใจสำหรับพนักงานในองค์กรโดยใช้เฟรมเวิร์ก ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของอับราฮัม มาสโลว์” เข้ามาเป็นแนวทางการพัฒนาบุคลากร โดยแนวคิดลำดับความต้องการของมนุษย์แบ่งเป็นความต้องการ 5 ขั้น
หลักการทำงานแบบ Teamwork
กิจกรรม OD อาจไม่ใช่การแก้ไขที่สาเหตุแบบยั่งยืนหรือไม่ ? เมื่อองค์กรพบปัญหาสมาชิกในองค์กรขาดความสามัคคีจึงมองหาการจัดกิจกรรม OD นอกสถานที่ ทั้งกิจกรรม Teamwork หรือกิจกรรม Teambuilding
วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
วิธีการประเมินผลเป็นขั้นตอนสำคัญมาก อยู่ในช่วงท้ายสุดก่อนการรับทราบข้อมูล ตัวเลขความสำเร็จในการจัดทำการประเมินผล สามารถทำได้หลายวิธีและมีรูปแบบการประเมินที่ออกแบบแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับองค์กร
Competency มีประโยชน์ต่อองค์กร?
การจัดทำขีดสมรรถนะความสามารถแบบ Competency มีประโยชน์ทั้งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลและการพัฒนารูปแบบองค์กรให้มีประสิทธิภาพเท่าทันสถานการณ์ การมุ่งหมายบริหารบุคลากรไปที่การประเมินผลปฏิบัติงาน
ตัวอย่างวิธีกำหนดเป้าหมาย (Target) KPIs
ในการเขียนดัชนีชี้วัดผลงานหลัก(Key Performance Indicators) 1 ตัวชี้วัดทั้งระดับหน่วยงาน(Unit/Department KPI)และรายบุคคล(Individual KPI)นั้น มีองค์ประกอบในการเขียนหลายข้อเพื่อให้ผลลัพธ์ที่ได้รับมีความ
Training Road Map ให้มีประสิทธิภาพ
สำหรับองค์กรขนาดเล็ก กลางและใหญ่ ที่กำลังมองหาทิศทางการพัฒนาและเพิ่มพูนคุณภาพทุนมนุษย์ลดต้นทุนการผลิตใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสม เรียกว่า “SAVE” ทุกปัจจัยให้มีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลสูงสุด