ผู้เขียน : อาจารย์ วีย์รฎา กวิณรวีบริรักษ์ วันที่ : 01 สิงหาคม 2566 จำนวนผู้เข้าชม 1052 คน
01 สิงหาคม 2566“กิจกรรม OD อาจไม่ใช่การแก้ไขที่สาเหตุแบบยั่งยืนหรือไม่ ? เมื่อองค์กรพบปัญหาสมาชิกในองค์กรขาดความสามัคคีจึงมองหาการจัดกิจกรรม OD นอกสถานที่ ทั้งกิจกรรม Teamwork หรือกิจกรรม Teambuilding ” หลังจากกลับมาจากกิจกรรมนั้น ทุกคนทำงานตามหน้าที่เป็นปกติ
พบว่าหลังจัดกิจกรรม OD เมื่อสมาชิกทุกคนกลับไปทำงาน ความขัดแย้ง (Conflict) ปัญหาการไม่ลงรอย กระทบกระทั่งในการเจรจาพูดคุย เหตุการณ์เดิมๆ หวนกลับมาอีกครั้ง ส่งผลกระทบต่อผลสำเร็จการปฏิบัติงาน
หลักการทำงานเป็นทีมให้สำเร็จมีประสิทธิภาพทุกกิจกรรมงาน ควรมีแนวทางทำงานร่วมกัน ทำอย่างไรให้สมาชิกทุกคนในทีมเข้าใจพร้อมขับเคลื่อนกลไกการทำงานไปด้วยกันอย่างราบรื่น
หลักการทำงานเป็นทีม ประกอบด้วย
ใน การสร้างความสามัคคีในองค์กรมีบันได 2 ขั้น ประกอบด้วย
“บันไดขั้นแรก” ในการสร้างความสำเร็จความสามัคคีในทีมคือองค์กรต้องสร้างวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีม โดยผ่านกลไกการดำเนินกิจกรรมตั้งแต่แรกรับพนักงานใหม่กระทั่งครบเกษียณอายุงาน
“บันไดขั้นสอง” คือ การจัดกิจกรรมนอกสถานที่ OD เป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ วัตถุประสงค์เพื่อสมาชิกทุกคนในองค์กร ได้มีการปรับเปลี่ยนพักผ่อนนอกสถานที่ ได้ผ่อนคลายอารมณ์ความรู้สึกหลังจากทำงานร่วมกันมาอย่างแข็งขัน ฝึกการอยู่ร่วมกัน ณ เวลาหนึ่ง
ทุกกิจกรรมที่กล่าวข้างต้น ตามบันได 2 ขั้นสู่ความสำเร็จในการพัฒนาความเป็นทีม ควรมีการดำเนินงานตามกระบวนการพัฒนาคุณภาพ P D C A (วงจรพัฒนาคุณภาพของ Dr. Edwards W.Deming)ทุกขั้นเพื่อประเมินผลสำเร็จ พร้อมติดตาม Feedback เป็นระยะ ส่วนใหญ่การพัฒนาความเป็นทีมงานขาดการติดตามปรับปรุงแก้ไขขั้นตอนสุดท้าย A (Action) ปรับปรุงแก้ไข ขาดการติดตามแก้ปัญหา การจัดกิจกรรมทั้งหมดขาดรอยต่อความสำเร็จ
E-Mail : [email protected]
วันที่ : 01 สิงหาคม 2566
จำนวนผู้เข้าชม 1052 คน
กรุณากดถูกใจ และ เพิ่มเพื่อน Line
แนวคิดและประโยชน์ Competency based Performance
การมุ่งเน้นประเมินผลตัวชี้วัดหลัก KPI ตามหน้าที่ปฏิบัติงานอาจได้คนเก่ง แต่ไร้ประสิทธิภาพความสามารถในการทำงานร่วมกันเป็นทีม การประเมินด้านขีดความสามารถมีส่วนในการช่วยพัฒนาบุคลากรให้เป็นไปตามทิศ
ฝึกพูดระดับเสียงหนึ่งในงานบริการ
เสียงหนึ่ง เสียงสองคืออะไร ? หากได้ยินคนเอ่ยถึงคุณทราบหรือไม่?? น้ำเสียงที่สนทนาพูดคุยอยู่นั้นคือน้ำเสียงระดับใด ซึ่งการใช้น้ำเสียงเพื่อการสนทนากับผู้รับบริการต่างจากการพูดคุยทั่วไป
เปรียบเทียบการสื่อสารแบบทั่วไป และ AIDET Plus
เอเด็ต (AIDET) เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือในการวางกรอบการสื่อสารสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ กลุ่มHealthcare เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรับรู้แบบสองทาง (Two way communications)
การถ่ายทอดลำดับการสื่อสารเชิงลึกงาน Healthcare
การถ่ายทอดลำดับการสื่อสารเชิงลึกงาน Healthcare (In-Depth communications in Healthcare) เมื่อไรก็ตามที่คุณใช้รูปแบบการสื่อสารแบบ AIDET Plus+ ในการสื่อสารกับเพื่อนร่วมงาน ผู้ป่วยและครอบครัว
ความแตกต่าง AIDET & AIDET Plus
ความแตกต่างระหว่างรูปแบบการสื่อสารของบุคลากรทางการแพทย์แบบเดิม AIDET และแบบใหม่ AIDET Plus เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร สามารถขับเคลื่อนแผนการปฏิบัติไปให้ถึงเป้าหมายการพัฒนาบุคลากร
หลักสูตรการสื่อสาร AIDET Plus communications สำหรับบุคลากรทางการแพทย์
ยุค MK6.0 การจัดอบรมสำหรับบุคลากรสายงานสุขภาพทุกตำแหน่งในงานด้าน Healthcare เปลี่ยนไปในรูปแบบเน้นการสื่อสาร(Communication)กับผู้รับบริการให้มากขึ้น มีการเชื่อมโยงทั้งด้านการสัมผัสด้วยตาและรับรู้ด้วยใจ